วันอาทิตย์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

Chapter VIII


สวัสดีครับ

สัปดาห์นี้ผมจะพูดเกี่ยวกับ เคมีและชีวะ


ผมอ่านชีวะแล้วสงสัยว่า Glucose 1 molecule เวลาสลายจะให้พลังงานกี่เปอร์เซ็นต์


ได้ว่า

It takes energy to break bonds, and energy is released when bonds are formed.

CH4 has four C-H bonds to be broken: 4(413) = 1652 kJ
Break two O=O bonds 2(497) = 994 kJ
Total energy needed to break bonds = 1652 + 994 = 2646 kJ

Bonds formed: CO2 has two C=O bonds. When these are formed energy is released and the sign of the heat change is negative (exothermic) Thus 2(-740) = -1480 kJ
H2O has two O-H bond but 2H2O means that 4O-H bonds are formed
4(-463) = -1852
Total energy released is 1480 + 1852 = 3332 kJ

Energy change = -3332 + 2646 kJ = -686 kJ
1 Glucose gives 32 ATPs
1 ATP = 7.3 kJ
1 Glucose = 32 X 7.3 = 233.6
233.6/686 = 0.3405 X 100 = 34.05%
เป็น exothermic ΔH เป็นลบ
จะได้ว่า เวลาสลายจะให้พลังงาน 34.05%

จะเห็นว่าเคมีช่วยอธิบายชีวะและบางครั้งชีวะก็ทำให้สามารถเห็นเคมีเป็นรูปธรรม

หลายคนคิดว่าไม่เห็นเกี่ยวกันเลย สำหรับผมผมคิดว่าเคมีและชีวะเป็นสิ่งที่คู่กันและ
อธิบายซึ่งกันและกัน

สัปดาห์ที่ผ่านมาผมได้เจอข้อสอบที่ผสมเคมีกับชีวะโดยใช้เคมีเรื่องสมดุลอธิบายระบบหายใจ


โจทย์ถามว่า ทำไมเวลาหายใจเร็วๆ ต้องหายใจในถุงโดยบอกว่าเกิดจากปริมาณ CO2 ที่มากขึ้น
เฉลย Chapter หน้านะครับ



เจอกัน Chapter หน้าครับ




วันเสาร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

Chapter VIII

สวัสดีครับ

สัปดาห์หน้าจะเป็นเรื่องกรดเบส

สัปดาห์นี้จะเป็นเรื่องยาน New horizon ครับ




           เป็นสิ่งที่น่าสนใจมากครับเพราะใช้เวลากว่า 10 ปี และเดินทางประมาณ 3000,000,000 ไมล์ เพื่อเดินทางไปในอวกาศจนถึงดาวพลูโตวันที่ 14 ก.ค. 58 และถ่ายภาพขณะผ่าน


ภาพถ่ายดาวพลูโต

            จะเห็นได้ว่าต้องใช้ความพยายามมากและมีการคำนวณอย่างแม่นยำ และมีอุปกรณ์ที่ใช้ประโยชน์และสามารถดูพื้นผิวและภาพรวมของดาวเคราะห์และวัตถุในอากาศ



ผมสนใจจักรวาลและวิทยาศาสตร์ และ ถ้าใครสนใจผมแนะนำ series big history by Crash course


จบละครับ เจอกัน สัปดาห์หน้าครับ Bye







Chapter VII

 สวัสดีครับ




ผมจะใส่สรุปเรื่องสมดุลไม้นะครับเผื่อเพื่อนๆจะนำไปใช้ประโยชน์ครับ

                Kc คือค่าคงที่สมดุลที่แสดงในเทอมความเข้มข้นของสารในหน่วยโมลาร์ (โมล/ลิตร)
ถ้า K < 1 แสดงว่า ในสภาวะสมดุล [สารตั้งต้น] > [ผลิตผล] หรือปฏิกิริยาย้อนกลับเกิดขึ้นเกือบจะสมบูรณ์ ในขณะที่ปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะเกิดน้อยมาก   ในทางกลับกัน ถ้า K > 1 แสดงว่า ในสภาวะสมดุล [สารตั้งต้น] < [ผลิตผล] หรือปฏิกิริยาไปข้างหน้าเกิดขึ้นเกือบจะสมบูรณ์ 
ค่า มี Kc (Concentration) ไม่คิด Solid liquid Kp (Pressure) ใช้กับ gas only

ในกรณีที่หาค่าอัตราส่วนนี้ก่อนถึงสภาวะสมดุลหรือเมื่อสมดุลถูกรบกวนจะเรียกอัตราส่วนนี้ว่า 
โควเตียนของปฏิกิริยา (reaction quotient, Q) ณ เวลาใดๆ



สัปดาห์ที่ผ่านมาผมได้ไปฟังเรื่อง Creative และได้ดู video น่าสนใจ เชิญชมครับ


Bye Bye เจอกัน Chapter VIII ครับ


วันอาทิตย์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

Chapter VI

สวัสดีครับ

สัปดาห์นี้ผมให้รูปสรุปสมดุลละกันครับ






จากรูปเป็นการ อธิบาย ค่า Kc Kp และค่า Q


สัปดาห์นี้ผมขอเล่าเรื่อง ที่ผมไปสอนน้องเรื่อง Genetics

                     ผมสอนเรื่องตาบอดสีเป็นการสืบทอดแบบ X-linked คือการสืบทอดบน sex chromosome แล้วพอดีมีน้องในห้องเป็นตาบอดสี เขียวทุกคนจึงตื่นเต้นแล้วเอาสีโน้นสีนี้มาถามแล้วน้องก็ตอบถูกบ้างผิดบ้าง ผมจึงถามว่าแล้วน้องเห็นท้องฟ้าสีอะไร น้องตอบว่าเป็นสีฟ้าทุกคนเลยงงว่าทำไมตอบถูก น้องเลยตอบว่า พี่ครับสีเป็นการเรียนรู้ พูดง่ายๆ คือ เรารู้ว่าเป็นสีฟ้าเพราะเราถูกสอนมาว่ามันเป็นสีฟ้า แต่พอให้ดู diagram สีจะตอบไม่ถูกเพราะจะไม่สามารถแยกความแตกต่างของสีีได้แต่จะเห็นเป็นสีเดียวกันแต่จะเข้มอ่อนต่างกัน ปัจจุบันนี้ มีแบบทดสอบดังรูป




ในครั้งหน้าจะอธิบายค่า Kc Kp และค่า Q เจอกัน Chapter หน้า ครับ